Friday, June 27, 2014

La Fête Nationale

วันบัสตีย์ เป็นวันชาติของฝรั่งเศส ซึ่งตรงกับวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี ในประเทศฝรั่งเศส วันดังกล่าวถูกเรียกอย่างเป็นทางการว่า "งานเฉลิมฉลองแห่งชาติ" (La Fête Nationale) และเรียกโดยทั่วไปว่า "สิบสี่กรกฎา" (le quatorze juillet) วันดังกล่าวเป็นการรำลึกถึงวันหยุดสหพันธรัฐ (Fête de la Fédération) ในปี ค.ศ. 1790 ซึ่งตรงกับวันครบรอบการโจมตีคุกบัสตีย์เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ. 1789 หนึ่งปีพอดี วันครบรอบการบุกโจมตีคุกปราการบัสตีย์ถูกมองว่าเป็นสัญลักษณ์การลุกฮือของชาติสมัยใหม่ และการปรองดองชาวฝรั่งเศสด้วยราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ สมัยก่อนสาธารณรัฐที่ 1 ระหว่างการปฏิวัติฝรั่งเศส งานฉลองและพิธีการทางการถูกจัดขึ้นทั่วประเทศฝรั่งเศส การเดินสวนสนามประจำปีที่เก่าแก่ที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรปถูกจัดขึ้นเมื่อเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม บนถนนช็องเซลีเซในปารีส ต่อหน้าประธานาธิบดีฝรั่งเศส เจ้าหน้าที่ของรัฐ และแขกต่างประเทศ

เหตุการณ์และประเพณี

การเดินสวนสนามเริ่มจากนักเรียนทหารจากโรงเรียนทหารหลายแห่ง จากนั้นจึงเป็นทหารราบ ทหารยานยนต์ อากาศยานจากปาทรูยเดอฟร็องส์บินอยู่บนท้องฟ้า ในปัจจุบัน ได้กลายมาเป็นธรรมเนียมปฏิบัติที่จะเชิญหน่วยทหารจากประเทศพันธมิตรของฝรั่งเศสร่วมเดินสวนสนามด้วย ในปี ค.ศ. 2004 อันเป็นปีครบรอบหนึ่งร้อยปีความตกลงฉันทไมตรี (Entente Cordiale) ทหารอังกฤษได้นำการเดินสวนสนามวันบัสตีย์เป็นครั้งแรก โดยมีเรดแอโรวส์บินอยู่เหนือศีรษะ ในปี ค.ศ. 2007 กองพลน้อยพลร่มที่ 26 ของเยอรมนีนำหน้าการเดินสวนสนาม ตามด้วยนาวิกโยธินอังกฤษ
ในวันนี้ยังเป็นวันที่ประธานาธิบดีฝรั่งเศสจะให้สัมภาษณ์แก่สื่อ โดยอภิปรายสถานการณ์ของประเทศ เหตุการณ์ปัจจุบัน และโครงการในอนาคต แต่นีกอลา ซาร์กอซี ประธานาธิบดีฝรั่งเศสคนที่ 23 ปฏิเสธจะให้สัมภาษณ์
รัฐธรรมนูญแห่งฝรั่งเศส มาตรา 17 ให้อำนาจแก่ประธานาธิบดี ในการอภัยโทษแก่ผู้กระทำความผิด และตั้งแต่ ค.ศ. 1991 เป็นต้นมา ประธานาธิบดีฝรั่งเศสได้ใช้อำนาจนี้ในการอภัยโทษผู้กระทำความผิดเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่นผู้กระทำผิดกฎจราจร ในวันที่ 14 กรกฎาคมของทุกปี แต่หลังจากปี ค.ศ. 2007 เป็นต้นมา อดีตประธานาธิบดีซาร์กอซีประกาศให้ยกเลิกธรรมเนียมปฏิบัติดังกล่าว

การเดินสวนสนาม

การเดินสวนสนามวันบัสตีย์นั้นเป็นการเดินสวนสนามฝรั่งเศสที่จัดขึ้นเป็นประจำทุกปีในกรุงปารีสนับตั้งแต่ ค.ศ. 1880 ในตอนเช้าวันที่ 14 กรกฎาคม แต่ก่อนการเดินสวนสนามดังกล่าวจัดขึ้นที่อื่นในหรือใกล้กับกรุงปารีส แต่หลังจากปี ค.ศ. 1918 ได้ย้ายมาจัดที่ถนนช็องเซลีเซ ด้วยการเห็นพ้องอย่างชัดเจนของฝ่ายสัมพันธมิตรที่เป็นตัวแทนในการประชุมสันติภาพแวร์ซาย ยกเว้นช่วงที่เยอรมนียึดครองฝรั่งเศสจาก ค.ศ. 1940 ถึง 1944 ขบวนสวนสนามเคลื่อนลงมาตามถนนช็องเซลีเซ จากประตูชัยฝรั่งเศสไปถึงจัตุรัสกงกอร์ด ที่ซึ่งประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐฝรั่งเศส คณะรัฐบาลและเอกอัครราชทูตต่างประเทศประจำประเทศฝรั่งเศสยืนอยู่ การเดินสวนสนามวันบัสตีย์ได้รับความนิยมในฝรั่งเศส มีการถ่ายทอดทางโทรทัศน์ และเป็นการเดินสวนสนามเป็นปกติที่เก่าแก่ที่สุดและมีขนาดใหญ่ที่สุดในยุโรป ในบางปียังได้มีการเชิญทหารต่างประเทศเข้าร่วมในขบวนสวนสนามและเชิญรัฐบุรุษต่างประเทศเข้าร่วมในฐานะแขก
นอกจากนี้ ยังมีการเดินขบวนสวนสนามขนาดเล็กกว่าตามเมืองที่มีกองทหารประจำอยู่ของฝรั่งเศส อันประกอบด้วยทหารในท้องถิ่นนั้น

Tuesday, June 24, 2014

LA FÊTE DE LA MUSIQUE

       
Fête de la musique
      When, in October 1981, Maurice Fleuret became Director of Music and Dance at Jack Lang’s request, he applies his reflections to the musical practice and its evolution: « the music everywhere and the concert nowhere« . When he discovered, in a 1982 study on the cultural habits of the French, that five million people, one child out of two, played a musical instrument, he began to dream of a way to bring people out on the streets.
And thus, in a few weeks’ time, the Fête de la Musique was launched on June 21, 1982, the day of summer solstice, a pagan night which recalls the ancient tradition of Saint John’s feasts.
Given the immediate success of this popular and largely spontaneous event, this gathering of professionals and amateurs musicians, with its new focus on all kinds of music, was the incarnation of a policy striving to give an equal place to amateur musicians, to rock, jazz, singing and traditional music, all of which were given a chance to be heard alongside so-called « serious » music.
The free concerts, the SACEM’s support, the media’s help, support from territorial municipalities, and participation of an ever increasing share of the population…made it one of the major French cultural events, in only a few years.
It began to be « exported » in 1985 (the European Year of Music). In fifteen years, the Fête de la Musique would be taken up in over one hundred countries throughout the five continents.
Though the European dimension remains the most visible one, now that Berlin, Budapest, Barcelona, Istanbul, Liverpool, Luxemburg, Rome, Naples, Prague and the French Community of Belgium, Santa Maria da Feira have signed the « Charter of the partners of the European Festival of Music », the Fête has also taken root in San Francisco, in New York this year, in Manila, and has practically become the national feast in many African countries, not to mention Brazil and Colombia.
Tough its success is most obvious in big cities’ hearts, many other dimensions lie behind : it visits prisons, shares the lives of hospital patients and personnel, brings together educational establishments and music schools, creates links between cities and suburbs, brings a fresh breeze to rural communities, highlights the months of efforts of an individual, a group, an association, or even an entire community. While avoiding formality, the Fête de la Musique naturally promotes democratisation of the access to artistic and cultural endeavours.An international success, a social phenomenon (a postage stamp is devoted to it in 1998), the Festival is also a showcase for new musical trends which it sometimes introduces, but always expresses : a renewal of traditional music, an explosion of world music, the development of choirs, the appearance of rap, techno, the revival of musical carnivals…
The success of the Fête is, more than anything else, due to the efforts of the many networks which are brought into play before June 21st. These can be institutional, like Operas houses, national and regional Orchestras, Chamber music ensembles, Conservatories, Music schools… or professional, like the Scènes de Musiques Actuelles (SMAC) and the Cafés Musique or the Antennes du Printemps de Bourges.
On this occasion, the major amateur federations ensure the involvement of all of their members throughout France, whether in the French Musical Confederation for Fanfares and Harmonies, or the A Coeur Joie for the choirs. Social and cultural institutions, as well as local associations, help to bring out the new musical expression. The vitality of the Fête also depends on the energy of the many volunteers who individually do their best to make sure this exceptional day is rich in spontaneity and in its expression of youthful abandon.
In a generation, the Festival displays its constant capacity to reinvent itself. Ingenious and vivacious, built on institutions yet choosing – like music itself – to live its life in the streets, the Festival is carried along by the people who bring it to life.